ข่าวประชาสัมพันธ์
ประชาสัมพันธ์
ศ.ดร.อภิชาติ วรรณวิจิตร ผู้อำนวยการ DNA TEC ได้เขียนบทความเรื่อง ดีเอ็นเอเทคโนโลยี กับการควบคุมคุณภาพข้าวหอมมะลิไทยพรีเมี่ยมระดับโลก (How DNA technology helps control the premium quality of Thai Hom Mali Rice) เผยแพร่ที่ www.openaccessgovernment.org
อัตราค่าบริการ
ห้องปฏิบัติการดีเอ็นเอเทคโนโลยี เป็นหน่วยงานให้บริการตรวจสอบการปลอมปนพันธุ์ข้าว, การตรวจสอบ GMO และอื่น ๆ ท่านสามารถคลิกที่หัวข้อ เพื่อดูรายละเอียดได้
ท่านสามารถสอบถามเกี่ยวกับงานบริการได้ที่เบอร์ 08-1517-4001, 09-7234-4461, 034-355-198 ต่อ 101 ท่านสามารถคลิกที่หัวข้อเพื่อดูช่องทางการติดต่อเพิ่มเติมได้
ห้องปฏิบัติการดีเอ็นเอเทคโนโลยี มีช่องทางให้ท่านสามารถชำระเงินได้หลากหลายช่องทาง ท่านสามารถคลิกที่หัวข้อเพื่อดูรายละเอียดวิธีการชำระเงินในรูปแบบต่าง ๆ ได้
หน่วยงานของเรายินดีให้คำปรึกษางานทดสอบอื่น ๆ ที่อยู่นอกเหนือบริการของเรา โดยท่านสามารถส่ง Email มาที่ prapasri_dnatec1@hotmail.com cs2_dnatec@hotmail.com
ท่านสามารถ ติดต่อสอบถาม, ให้ข้อเสนอแนะ หรือร้องเรียนโดยการ Scan QR Code หรือคลิกที่หัวข้อเพื่อ ไปยังหน้าแบบฟอร์ม เราหวังเป็นอย่างยิ่งที่จะช่วยให้ท่านได้รับความพึงพอใจในบริการของเรา
ห้องปฏิบัติการดีเอ็นเอเทคโนโลยี มีแบบฟอร์มต่าง ๆ ให้ท่านกรอก ไม่ว่าจะเป็นแบบฟอร์มสำหรับนำส่งตัวอย่างเข้ารับการทดสอบ, แบบฟอร์มร้องเรียน และอื่น ๆ โดยท่านสามารถคลิกที่หัวข้อเพื่อเลือกแบบฟอร์มที่ท่านต้องการได้
ระบบรับตัวอย่างห้องปฏิบัติการดีเอ็นเอเทคโนโลยี (Sample Receive System) ช่วยเพิ่มความสะดวกให้ท่านสามารถ กรอกข้อมูลในการส่งตัวอย่างได้สะดวกยิ่งขึ้น สามารถติดตามว่าตัวอย่างของท่านอยู่ในขั้นตอนไหนของการตรวจวิเคราะห์แล้ว เพื่อช่วยให้ท่านสามารถติดตามความคืบหน้าตัวอย่างทดสอบของท่านได้ตลอด 24 ชั่วโมง
สิงหาคม 20, 2020
ห้องปฏิบัติการดีเอ็นเอเทคโนโลยี มีขั้นตอนในการเข้ารับบริการสำหรับลูกค้าที่สนในนำตัวอย่างข้าวเข้ารับการทดสอบการปลอมปนพันธุ์ข้าวกับเรา โดยท่านสามารถคลิกเพื่อเข้าดูขั้นตอนในการเข้ารับบริการได้...
ห้องปฏิบัติการดีเอ็นเอเทคโนโลยี มีขั้นตอนในการเข้ารับบริการสำหรับลูกค้าที่สนในนำตัวอย่างข้าวเข้ารับการทดสอบ GMO กับเรา โดยท่านสามารถคลิกเพื่อเข้าดูขั้นตอนในการเข้ารับบริการได้
ระบบรับตัวอย่างข้าว(Rice Sample System) ช่วยเพิ่มความสะดวกให้ท่านสามารถ กรอกข้อมูลในการส่งตัวอย่างได้สะดวกยิ่งขึ้น สามารถติดตามว่าตัวอย่างของท่านอยู่ในขั้นตอนไหนของการตรวจวิเคราะห์
มีนาคม 03, 2021
เมื่อวันจันทร์ที่ 1 มีนาคม 2564 ที่ผ่านมา ศาสตราจารย์ ดร. อภิชาติ วรรณวิจิตร ผู้อำนวยการห้องปฏิบัติการดีเอ็นเอเทคโนโลยี (DNA TEC) ได้มีโอกาสเข้าร่วมแสดงผลงานของห้องปฏิบัติการ ดีเอ็นเอ เทคโนโลยี (DNA TEC) ต่อสภามหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ณ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน
ศาสตราจารย์ ดร. อภิชาติ วรรณวิจิตร ผู้อำนวยการห้องปฏิบัติการดีเอ็นเอเทคโนโลยี (DNA TEC) และศูนย์วิทยาศาสตร์ข้าว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อธิบายถึง ความสามารถของดีเอ็นเอเทคโนโลยีสามารถเป็นเครื่องมือใช้ในการควบคุมคุณภาพข้าวหอมมะลิไทยพรีเมี่ยมได้อย่างไร
ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ (ไบโอเทค) สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) ได้เล็งเห็นความสำคัญในการเตรียมความพร้อมทั้งในด้านการพัฒนาเทคโนโลยีและการพัฒนาบุคลากรด้านเทคโนโลยีดีเอ็นเอ...
ข้าวเป็นพืชที่มีความสําคัญทาง เศรษฐกิจของประเทศไทยมีการ ปลูกกันอย่างแพร่หลายในทั่วทุก ภาคของประเทศ และจัดเป็น สินค้าส่งออกที่มีความสําคัญใน ระดับต้นๆ ปัญหาที่พบว่ามีผลต่อ การส่งออกข้าวไปยังต่างประเทศ อย่างหนึ่งคือ ปัญหาการ ปลอมปนพันธุ์ข้าวอาจนํามาซึ่งการสูญเสียภาพพจน์ของ การค้าข้าวของประเทศไทย...
ในปัจจุบัน ความวิตกกังวลของผู้บริโภคเรื่องวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์แปรรูปจากพืชและสัตว์ที่ได้รับการตกแต่งยีน (GeneticallyModified Organisms, GMOs) การพัฒนายีนที่มีประโยชน์ทางการเกษตรเช่น ยีนต้านทานโรคและแมลง ยีนต้านทานวัชพืช ก่อให้เกิดกระแสการต่อต้านขึ้นโดยใช้ข้อกำหนดในด้านความปลอดภัยทาง ชีวภาพทั้งในและนอกประเทศ...
ข้าวโพดเป็นพืชสำคัญทางเศรษฐกิจของประเทศจากอดีตถึงปัจจุบันมีความต้องการใช้อย่างสูงภายในประเทศ ทำให้ธุรกิจเมล็ดมีการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วการผลิตเมล็ดพันธุ์ จึงมีการแข่งขันกันทั้งในด้านคุณภาพของสินค้า รวมทั้งการลดต้นทุนการผลิตให้ได้มากที่สุด การนำเครื่องหมาย DNA มาใช้ในการตรวจสอบ ทำให้ลดปัญหาต่างๆของการผลิตและการตรวจคุณภาพสินค้าได้ ห้องปฏิบัติการดีเอ็นเอ เทคโนโลยีได้นำเครื่องหมายดีเอ็นเอมาใช้ในการตรวจสอบข้าวโพด...
ดีเอ็นเอ(DNA) ผู้ค้นพบดีเอ็นเอ คือ ฟรีดริช มีเชอร์ ในปีพ.ศ. 2412 (ค.ศ. 1869) แต่ยังไม่ทราบว่ามีโครงสร้างอย่างไรจนในปี พ.ศ. 2496 (ค.ศ. 1953) เจมส์ ดี. วัตสัน และฟรานซิส คริก เป็นผู้รวบรวมข้อมูล และสร้างแบบจำ ลองโครงสร้างของดีเอ็นเอ (DNA Structure Model) จนทำให้ได้รับรางวัลโนเบล และนั่นนับเป็นจุดเริ่มต้นของยุคเทคโนโลยีทางดีเอ็นเอDNA มีชื่อแบบเต็มว่า กรดดีออกซีไรโบนิวคลีอิก (Deoxyribonucleic acid)...
สุกรที่มีลักษณะพันธุกรรม Malignant Hyperthermia (MH) เมื่อถูก กระตุ้นให้เกิดความเครียด เช่นการขนย้าย การผสมพันธุ์ การต่อสู้ กันเอง จะทําให้อุณหภูมิในร่างกายสูงขึ้น เกิดอาการหอบ บางครั้งมี อาการช็อกตายอย่างเฉียบพลัน เนื่องจากร่างกายไม่สามารถปรับ อุณหภูมิภายในให้ลดลงสู่ภาวะปกติได้ และพบว่าสุกรที่มีลักษณะ พันธุกรรมดังกล่าวจะมีเนื้อที่มีลักษณะ ซีด เหลว แฉะ ทําให้ซากมี คุณภาพต่ํา เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจในการผลิตสุกร...
โรควัวบ้าซึ่งเกิดจากตัว Prion Protein ที่มีลักษณะผิดปกติดังนั้นการตรวจสอบว่าผลิตภัณฑ์ จากเนื้อวัวจะเป็นที่มาจากวัวบ้าหรือไม่นั้นจึงทำได้ยาก เพราะว่าตัว Prion Protein ก็มีอยู่แล้วในสัตว์และมนุษย์ แต่เป็นตัวโปรตีนที่มีโครงสร้างปกติ การที่จะทราบว่าผลิตภัณฑ์วัวนั้น มาจากวัวที่เป็นบ้าหรือไม่ จึงทำได้ลำบากและช้า ดังนั้นจึงมีกฎหมายในหลายประเทศห้ามนำเข้าผลิตภัณฑ์ ที่มีส่วนผสมของวัวจากประเทศที่มีการค้นพบว่ามีวัวบ้าอยู่...